การฟ้อนโซ่ทั่งบั้ง
การฟ้อนโซ่ทั่งบั้ง
โซ่ทั่งบั้ง ถึงแม้จะกำเนิดมาจากพิธีกรรมงานศพ ที่เรียกว่า ซางกะมูด และในพิธีเจียดอง คือ ทำบุญให้แก่พ่อแม่ฝ่ายหญิงซึ่งง่าย ชายสัญญาไว้ก่อนจะทำบุญให้ โซ่ทั่งบั้งในฐานะการฟ้อนรำ การแสดงโซ่ทั่งั้งตามแบบโบราณ ได้รับการจำลองแบบให้เป็นการฟ้อนโดยประยุกต์ท่ารำจากท่ารำมาตรฐาน กรมศิลปกรรมสมกับจำลองท่าฟ้อนตามความเชื่อเรื่องผี วิญญาณผีฟ้าผีแถน เพื่อแสดงเป็น ครั้งแรกในงานเทศกาลสงกรานต์จังหวัดสกลนคร พ.ศ.2521 โดยท่าฟ้อน 7 ท่า ดังนี้ ท่าเชิญผีฟ้า ท่าส่งผีฟ้า ท่าทั่งลั้ง ท่าถวายดอกไม้และท่าเกี่ยวแขนรำในด้านการแต่งกายสตรีนักฟ้อนที่นิยมแต่งแบบชาวโซ่โบราณจะเกล้าผมทรงสูงทรงมวย มีฝ้ายสีขาวมัดมวยผมสวมเสื้อผ้าฝ่ายแขนยาวสามส่วนสีดำ หรือย้อมครามติดกระดุมเงิน นุ่งซิ่นมัดหมี่ต่อหัวต่อเชิ่งห่มสไปด้วยผ้าเก็บดอกหรือผ้าขิด ไม่สวมรองเท้าส่วนเครื่องประดับนิยมใช้เครื่องประดับที่ทำด้วยเงินเช่น ต่างหู หร้อยคอ กำไรข้อมือ กำไลข้อเท้า ในปัจจุบัน ว่าจะมีการฟ้อนแสดงความเชื่อในพิธีทั่งบั้ง แต่ชาวโซ่ที่กุสุมาลย์ก็ยังนิยมแสดงโซ่ทั่งบั้งในพิธีเยาคนป่วยไข้ไปพร้อม ๆ กันด้วย ชาวโซ่เชื่อว่าซิญญาณที่ทำให้เจ็บป่วยได้นั้น อาจเกิดจากวิญญาณของผี ฟลายชนิดเช่น ผีฝ้า ผีมูล ผีกระกูล ซึ่งโดย เงื่อนไขทีหมอเยาเสนอให้ถ้าหากเป็นที่พอใจแล้ววิญญาณผีจะออกจากร่างผู้ป่วยอาการเจ็บไขจะทุเลาลงและหายได้ ในขณะที่หมอเยาซักถามอาการมีการดูด เหล้าไหกันอยู่นั้นคนไข้แม้จะเจ็บป่วยก็จะลุกขึ้นมาร่ายรำเข้ากับเสียงแคนได้ สิ่งที่ประกอบในการแสดงโซ่ทั่งบั่งนอกจากจะ มีกลุ่มนักฟ้อนรำสตรีและกลุ่มสาธิตแสดงการเหยาคนป่วยแล้ววิ่งที่ขาดไม่ได้คือ กลุ่มนักดนตรีและผู้ที่ถือท่อนกระบอกไม้ไผ่ ่ยาว 3 ปล้อง กระทุ้งดิน เป็นจังหวะ ตามเสียงกลองสิ่งนั้นคือความหมายของ "ทั่งบั้ง" ของเดิมนั้นเอง รำโส้ทั่งบั้งของอำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร เป็นการรำประกอบพิธีเหยา มีวัตถุประสงค์เพื่ออัญเชิญวิญญาณของบรรพบุรุษให้มาช่วยเหลือดูแล แนะนำ บันดาล ให้อยู่เย็นเป็นสูข หายจากความเจ็บไข้ได้ป่วย การรำโส้ทั่งบั้งของโส้อำเภอกุสุมาลย์มีท่ารำ ๕ ท่า คือ ๑. ท่าเชิญผีฟ้า เพื่อ
เชิญวิญญาณบรรพบุรุษที่เข้าทรงหมอเหยาให้มาร่วมสนุกสนาน
๒. ท่าทั่งบั้ง เป็นท่ากระแทกกระบอกไม้ใผ่ลงดินเป็นจังหวะ
๓. ท่าถวายแถน เพื่อแสดงความเคารพบรรพบุรุษ
๔. ท่าส่งผีฟ้า เพื่อเชิญวิญญาณบรรพบุรุษให้ตรวจตราสอดส่องดูแลผู้คนรอบๆ บริเวณที่รำ ๕. ท่าเลาะตูบ เพื่อติดตามวิญญาณบรรพบุรุษที่กำลังตรวจตราสอดส่องดูแลรอบๆ บริเวณที่รำก่อนออกจากร่างทรง
โซ่ทั่งบั้ง ถึงแม้จะกำเนิดมาจากพิธีกรรมงานศพ ที่เรียกว่า ซางกะมูด และในพิธีเจียดอง คือ ทำบุญให้แก่พ่อแม่ฝ่ายหญิงซึ่งง่าย ชายสัญญาไว้ก่อนจะทำบุญให้ โซ่ทั่งบั้งในฐานะการฟ้อนรำ การแสดงโซ่ทั่งั้งตามแบบโบราณ ได้รับการจำลองแบบให้เป็นการฟ้อนโดยประยุกต์ท่ารำจากท่ารำมาตรฐาน กรมศิลปกรรมสมกับจำลองท่าฟ้อนตามความเชื่อเรื่องผี วิญญาณผีฟ้าผีแถน เพื่อแสดงเป็น ครั้งแรกในงานเทศกาลสงกรานต์จังหวัดสกลนคร พ.ศ.2521 โดยท่าฟ้อน 7 ท่า ดังนี้ ท่าเชิญผีฟ้า ท่าส่งผีฟ้า ท่าทั่งลั้ง ท่าถวายดอกไม้และท่าเกี่ยวแขนรำในด้านการแต่งกายสตรีนักฟ้อนที่นิยมแต่งแบบชาวโซ่โบราณจะเกล้าผมทรงสูงทรงมวย มีฝ้ายสีขาวมัดมวยผมสวมเสื้อผ้าฝ่ายแขนยาวสามส่วนสีดำ หรือย้อมครามติดกระดุมเงิน นุ่งซิ่นมัดหมี่ต่อหัวต่อเชิ่งห่มสไปด้วยผ้าเก็บดอกหรือผ้าขิด ไม่สวมรองเท้าส่วนเครื่องประดับนิยมใช้เครื่องประดับที่ทำด้วยเงินเช่น ต่างหู หร้อยคอ กำไรข้อมือ กำไลข้อเท้า ในปัจจุบัน ว่าจะมีการฟ้อนแสดงความเชื่อในพิธีทั่งบั้ง แต่ชาวโซ่ที่กุสุมาลย์ก็ยังนิยมแสดงโซ่ทั่งบั้งในพิธีเยาคนป่วยไข้ไปพร้อม ๆ กันด้วย ชาวโซ่เชื่อว่าซิญญาณที่ทำให้เจ็บป่วยได้นั้น อาจเกิดจากวิญญาณของผี ฟลายชนิดเช่น ผีฝ้า ผีมูล ผีกระกูล ซึ่งโดย เงื่อนไขทีหมอเยาเสนอให้ถ้าหากเป็นที่พอใจแล้ววิญญาณผีจะออกจากร่างผู้ป่วยอาการเจ็บไขจะทุเลาลงและหายได้ ในขณะที่หมอเยาซักถามอาการมีการดูด เหล้าไหกันอยู่นั้นคนไข้แม้จะเจ็บป่วยก็จะลุกขึ้นมาร่ายรำเข้ากับเสียงแคนได้ สิ่งที่ประกอบในการแสดงโซ่ทั่งบั่งนอกจากจะ มีกลุ่มนักฟ้อนรำสตรีและกลุ่มสาธิตแสดงการเหยาคนป่วยแล้ววิ่งที่ขาดไม่ได้คือ กลุ่มนักดนตรีและผู้ที่ถือท่อนกระบอกไม้ไผ่ ่ยาว 3 ปล้อง กระทุ้งดิน เป็นจังหวะ ตามเสียงกลองสิ่งนั้นคือความหมายของ "ทั่งบั้ง" ของเดิมนั้นเอง รำโส้ทั่งบั้งของอำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร เป็นการรำประกอบพิธีเหยา มีวัตถุประสงค์เพื่ออัญเชิญวิญญาณของบรรพบุรุษให้มาช่วยเหลือดูแล แนะนำ บันดาล ให้อยู่เย็นเป็นสูข หายจากความเจ็บไข้ได้ป่วย การรำโส้ทั่งบั้งของโส้อำเภอกุสุมาลย์มีท่ารำ ๕ ท่า คือ ๑. ท่าเชิญผีฟ้า เพื่อ
เชิญวิญญาณบรรพบุรุษที่เข้าทรงหมอเหยาให้มาร่วมสนุกสนาน
๒. ท่าทั่งบั้ง เป็นท่ากระแทกกระบอกไม้ใผ่ลงดินเป็นจังหวะ
๓. ท่าถวายแถน เพื่อแสดงความเคารพบรรพบุรุษ
๔. ท่าส่งผีฟ้า เพื่อเชิญวิญญาณบรรพบุรุษให้ตรวจตราสอดส่องดูแลผู้คนรอบๆ บริเวณที่รำ ๕. ท่าเลาะตูบ เพื่อติดตามวิญญาณบรรพบุรุษที่กำลังตรวจตราสอดส่องดูแลรอบๆ บริเวณที่รำก่อนออกจากร่างทรง
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น